Friday, February 28, 2014
นกจาบคากินเหยื่อ Bee-eater with prey
Walking along canal zone in Queen Sirikit park, a blue bird dashed across the canal into Suan Rot Fai park. It was a นกจาบคาหัวเขียว Blue-tailed Bee-eater perching on a branch. The photographs revealed that the bird got a dragonfly. It crushed the prey against the branch several times knocking it to unconsciousness. It then tossed the prey into the air and swallowed.
Thursday, February 27, 2014
นกกาเหว่าคายกากอาหาร Koel casting pellet
Today in SRF I was looking at an Asian Koel นกกาเหว่า on a tabebuia rosea. Suddenly the bird opened its mouth and something emerged. It was casting a pellet.
It looked to me as if the pellet was mostly fibres and seeds, neither of which would be digestible, so this may be an efficient way of extracting nutrition without filling up the gut with indigestible ballast.
Tuesday, February 25, 2014
นกยางกรอก Pond Heron
นกยางกรอกมีหลายชนิด พันธุ์จีน พันธุ์ชวา พันธุ์อินเดีย นอกฤดูผสมพันธุ์จะคล้ายกันมากจนจำแนกไม่ได้
At the canal zone in SRF park
At the canal zone in SRF park
นกยางควาย Cattle Egret in breeding plumage
นกยางควาย คอสั้น ขนขาว แต่ในฤดูผสมพันธุ์ที่หัว คอ และหลัง ขนจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแกมส้มสดใส ปากเหลืองสด ภาพที่สวนรถไฟ
In breeding and non breeding plumage.
In breeding and non breeding plumage.
Sunday, February 23, 2014
นกเฉี่ยวบุ้งใหญ่ Black-winged Cuckooshrike
ที่สะพานข้ามคลองจากสวนรถไฟไปสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ มีต้นโพธิ์กำลังแตกยอดอ่อน นกตัวนี้มาหากิน ดูคล้ายนกอีวาบตั๊กแตน แต่ท้องขาว เป็น นกเฉี่ยวบุ้งใหญ่ Black-winged Cuckooshrike เป็นนกป่าของภาคเหนือ แต่เป็นนกอพยพในฤดูหนาวพบได้ที่สวนรถไฟ
ขอบคุณ Magpie จาก BCST ช่วย Identify
暗灰鹃鵙
นกกะเต็นหัวดำ Black-capped Kingfisher
นกกะเต็นหัวดำ Black-capped Kingfisher ที่สะพานข้ามคลองจากสวนรถไฟไปสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ เป็นนกอพยพ
นกยางไฟหัวดำ Yellow Bittern
ได้ข่าวจาก David Gandy ว่าพบ Yellow Bittern มาตั้งแต่สองสัปดาห์ก่อนวันนี้เดินเข้าสวนรถไฟทางประตูด้านถนนกำแพงเพชร ๓ ได้ยินเสียงนกหลายชนิดแว่วมาจากทางด้านหลังอาคารศูนย์กีฬา เดินตามเสียงไปตรงร่มไม้ที่เป็นชมรมเพาะกาย มองลงไปในหนองน้ำก็เห็นทันที ไม่ใช่เจ้าของเสียงแต่เป็น นกยางไฟหัวดำ Yellow Bittern
เดินต่อเข้าไปในสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ เห็นคนถ่ายภาพนกอยู่ที่ริมคลอง มองไปตามทิศทางของกล้อง เป็นนกยางไฟหัวดำอีกตัว
ย่างสามขุมอย่างเงียบเชียบ
เดินต่อเข้าไปในสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ เห็นคนถ่ายภาพนกอยู่ที่ริมคลอง มองไปตามทิศทางของกล้อง เป็นนกยางไฟหัวดำอีกตัว
ย่างสามขุมอย่างเงียบเชียบ
Friday, February 21, 2014
เป็ดสีกากี Khaki Campbell Ducks
ฝูงเป็ดในสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เป็นเป็ดเทศจากประเทศตะวันตกที่นำมาแสดงเป็นช่วงๆ เป็ดสีกากี เป็นเป็ดที่พัฒนาสายพันธุ์ขึ้นในอังกฤษตั้งแต่ปี ค.ศ.1901
Flocks of ducks in Queen's Park are mostly exotic imported from western colder countries. As such they are here for showing in short periods.
The following description was taken from Wikipedia.
The Khaki Campbell is a breed of domesticated duck that originated in England and is kept for its high level of egg production. The breed was developed by Mrs. Adah Campbell of Uley, Gloucestershire, England at the turn of the 19th century. The "Campbell Duck" being introduced in 1898 and the 'Khaki' variety introduced to the public in 1901
The following description was taken from Duck Hybrids and Variants
in Greater Vancouver by Stephen Arthur and Joyce Arthur
Probable Khaki Campbell (Stanley Park's Lost Lagoon, December 1992). This duck was closely associated with a small white duck (probably domestic White Call duck) and was loosely associated with Mallards. It dabbled and was semi-tame. It was larger than a Mallard and had a long body, with the legs in the last third of the body. Except for a seal brown head, neck, and rump, the plumage was an overall creamy beige. We have included this duck because it shows many characteristics in common with both Canvasbacks and Mallards, illustrating the possible confusion that can result from a sighting in the wild.
Flocks of ducks in Queen's Park are mostly exotic imported from western colder countries. As such they are here for showing in short periods.
The following description was taken from Wikipedia.
The Khaki Campbell is a breed of domesticated duck that originated in England and is kept for its high level of egg production. The breed was developed by Mrs. Adah Campbell of Uley, Gloucestershire, England at the turn of the 19th century. The "Campbell Duck" being introduced in 1898 and the 'Khaki' variety introduced to the public in 1901
The following description was taken from Duck Hybrids and Variants
in Greater Vancouver by Stephen Arthur and Joyce Arthur
Probable Khaki Campbell (Stanley Park's Lost Lagoon, December 1992). This duck was closely associated with a small white duck (probably domestic White Call duck) and was loosely associated with Mallards. It dabbled and was semi-tame. It was larger than a Mallard and had a long body, with the legs in the last third of the body. Except for a seal brown head, neck, and rump, the plumage was an overall creamy beige. We have included this duck because it shows many characteristics in common with both Canvasbacks and Mallards, illustrating the possible confusion that can result from a sighting in the wild.
Thursday, February 20, 2014
นกจาบคาจู๋จี๋ที่สวนรถไฟ Bee-eaters in love at SRF
แม้ว่าจะย่างเข้าปลายกุมภาพันธ์แล้ว แต่วันนี้อากาศเย็นหวนกลับมาอีกครั้ง นกจาบคาหัวเขียว Blue-tailed Bee-eater ตัวหนึ่งจับกิ่งไม้รับลม พลันคู่มันตามมาเกาะใกล้ๆ
Wednesday, February 19, 2014
นกโพระดกแสนสวยที่พุทธมณฑล The Barbet at Phutthamonthon
ห่างเหินสวนพุทธมณฑลไปพักใหญ่ ลองแวะเข้าไปเยี่ยมยาม ได้ยินเสียงนกโพระดก นกโพระดกธรรมดา Lineated Barbet ตัวนี้เกาะหลบแดดอยู่ในร่มเงาต้นประดู่ พอมันเห็นว่าจะถ่ายรูป ก็โผออกมาเกาะที่กิ่งโล่งๆ แล้วโพสท่าให้เลย
สีเขียวของนกให้ความสดชื่น ตัดกับความร้อนแรงของแสงอาทิตย์อย่างจัง
สีเขียวของนกให้ความสดชื่น ตัดกับความร้อนแรงของแสงอาทิตย์อย่างจัง
Tuesday, February 18, 2014
นกจับแมลงสีน้ำตาล Asian Brown Flycatcher
ชอบเกาะตามกิ่งไม้เตี้ยๆ รอโฉบจับแมลง ไม่ตื่นกลัวง่าย พบที่ทางเข้าบริเวณทางลดเลี้ยว The Ramble ในสวนรถไฟ
Monday, February 17, 2014
นกตะขาบทุ่งกินเหยื่อ Indian Roller with prey in SRF
เห็นนกตะขาบทุ่งบินมาเกาะ เป็นนกที่พบได้บ่อยมากที่สวนรถไฟ ยกกล้องขึ้นถ่ายทันที พอดูรูปอ้าว... มันคาบไส้เดือนมาจากไหน
นกกวักในสวนรถไฟ White-breasted Waterhen wading in SRF park
นกกวัก White-breasted Waterhen ตัวนี้หากินอยู่ในคลองที่แบ่งเขตระหว่างสวนรถไฟกับสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ หรือที่ David Gandy เรียกว่า Canal zone เดินข้ามสะพานมองลงไปเห็นมันพอดี
Sunday, February 16, 2014
นกอีวาบตั๊กแตน Plaintive Cuckoo in SRF
รอที่สนามข้างลานน้ำพุอีกพักหนึ่ง นกอีวาบตั้กแตน Plaintive Cuckoo เพศเมียก็มาจับที่ต้นไม้ ต้นไม้ต้นนี้เป็นที่ชื่นชอบของนกต่างๆเป็นพิเศษ เพราะยืนเด่นอยู่กลางสนามหญ้า มักเห็นนกมาเกาะหันซ้ายหันขวา โฉบลงพื้นแล้วกลับไปเกาะบนต้นไม้ ปากคาบหนอนที่ได้มาขยอกลงคอ
Friday, February 14, 2014
Subscribe to:
Posts (Atom)